ปฐมบทสู่ความเป็นพุทธแท้ : "แก่นแท้พุทธศาสนา" || หัวใจแห่งพุทธ&แก่นธรรมเพื่อชีวิต : ป. อ. ปยุตฺโต || #อริยคุณ ชมรมผลดี (อ่าน)

Release Date:

"แก่นแท้ของพุทธศาสนา" สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) หนังสือสรุปคำสอนที่เป็นแก่นแท้ของพุทธ ที่ดีที่สุดเล่มหนึ่ง ที่ชาวพุทธทุกคนได้อ่านได้ฟังสักครั้งในชีวิต หลายคนคงสงสัยว่าสรุปแล้วอะไรคือหัวใจพุทธศาสนากันแน่ เพราะได้ยินได้ฟังจากครูบาอาจารย์หลายท่านก็สอนไว้ต่างกัน เช่น เว้นชั่วทำดี ทำใจให้บริสุทธิ์ หรือ ธรรมทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น หรือ เราบัญญํติแต่ทุกข์และความดับทุกข์เท่านั้น ซึ่งสมเด็จท่านจะมาจำแนกแยกแยะให้เห็นว่า แต่ละหลักนั้น สุดท้ายแล้วรวมลงในหลักเดียวกันทั้งหมด แต่เป็นคนละแง่มุม หรือคนละระดับอย่างไร

เนื้อหาภายในประกอบด้วยสองหัวข้อหลักคือ แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา และแก่ธรรมเพื่อชีวิต เพื่อทำความเข้าใจว่าหัวใจพุทธคืออย่างไร และการนำหลักธรรมไปใช้ในชีวิต กับคำสอนหลักที่ควรรู้จัก เช่น เรื่องพระรัตนตรัย ฐานะของพระพุทธเจ้า และที่มาของพระธรรม เรื่องไตรสิกขา คือศีล สมาธิ ปัญญา เรื่องอริยสัจ ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ กรรม ตัญหา อายตน อินทรีย์ สันโดษ กัลยาณมิตร หลักไม่ประมาท หลักพึ่งตนได้ การดำเนินชีวิต การพัฒนาคนและสังคมตามหลักธรรม

การได้เกิดเป็นมนุษย์ พบพระพุทธศาสนา จะไม่มีค่าอะไรเลย ถ้าไม่รู้ว่า.. "พระพุทธเจ้า สอนอะไร" และสาระสำคัญคืออะไร แค่ไหน อย่างไร จึงควรใส่ใจศึกษา เพราะมนุษย์เป็นภพเดียวที่ศึกษาและสร้างบารมีทางธรรมได้มากและได้ง่ายที่สุด

เพื่อความเข้าใจดียิ่งขึ้น ควรหาเวลามาฟังซ้ำอีกครั้ง และควรศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือพุทธธรรมฉบับปรับขยาย ซึ่งจะเป็นการสรุปพระไตรปิฎกมาจัดเรียงเป็นหมวดหมู่ให้ศึกษาได้ง่ายแจกแจงอธิบายโดยละเอียดไปตามลำดับ เพื่อเข้าใจหลักธรรมที่สำคัญในแต่ละหัวข้อได้ถูกต้องตรงทางในเชิงลึก ก่อนที่จะไปฝึกปฏิบัติภาวนาจริงจังต่อไป ซึ่งการเจริญสติจนจิตผู้รู้ตื่น เห็นจิตนี้เป็นต่างหาก นั่นคือเป้าหมายที่ควรทำให้ได้ก่อนสิ้นชีวิตนี้นะครับ

#เจ้าภาพหลัก
ครอบครัว สินธวัชต์
ครอบครัว โล่ห์ติวิกุล
จิราพร ภัตรสุวัณณาคาร

#เจ้าภาพรอง
ครอบครัว เอี่ยมวงศรี
ครอบครัว ศรีโภคา
ครอบครัว อำนาจหาญกิจ
ครอบครัว คณิตวิชากุล
ครอบครัว คหสุวรรณ

ศุภกิจ นิมมานนรเทพ
ชัยเชษฐ์ สุขุมกาญจนะ
นันทนา ศิริวัฒน์
ณิชชา มาตโสภา
ปัญญา โกจันทร์

#เจ้าภาพร่วม
สำรวย พุ่มพวง
ชาย พฤกษ์คุ้มวงศ์
พนอมรักษ์ เพชรเสถียร
รัตนอาภา อัตโตหิ
วิไลวรรณ กุลเพิ่มทวีรัชต์

วีรวุฒิ-ณกมน หวงอุรดี
กณิยา บุญธกานนท์
ธนกร ศิริสมุทร
กัญญณัช ทองบุญ

ครอบครัว เงินถาวร
อ้อยพร จึงวิวัฒนาภรณ์
พัชรี ลออเลิศลักขณา
มุทิตา จินากรณ์
สุดารัตน์ อำไพโรจนวงศ์
ช่อทิพย์ นิธิประภา
กิตติพร ตรีศุภกานต์
__________
ครอบครัว สินสมบัติ
ครอบครัว หวงอุรดี
ครอบครัว งามสุริยะพงศ์
วิชาญ มณฑาทิพย์กุล
อภิสิทธิ์ ไชยรส

อนุรักษ์ วีระศร
พิมพ์สิริ ภักดีชาติ
ณัฎฐวิศา จำปา
ปุญญานันท์ ลีลาขจรกิจ
ศศิกัญญา คุณาสุธีรัตน์
อรัญ อรัญมาตย์

ไพโรจน์ คอนเอม
ไพจิตร งามสุริยะพงศ์
ธีรวุฒิ สายมาแก้ว
บุณฑริกา กลางประพันธ์
จีรนัทธ์ จารุวัฒนาศิริ
ฯลฯ ไม่ประสงค์ออกนาม

ร่วมจัดทำดูที่
https://facebook.com/jz.net

"การให้ธรรม"
ชนะการให้ทั้งปวง

0:00:00 แนะนำก่อนฟัง : อริยคุณ (ผู้อ่าน)
0:03:42 ร่วมอนุโมทนาผู้ร่วมจัดทำ
0:04:16 บทนำ : แก่นแท้ของพุทธศาสนา ๑
0:12:28 หัวใจพุทธศาสนาคืออะไร
0:20:46 อริยสัจ รวมทุกหลักไว้อย่างไร
0:31:41 กิจต่ออริยสัจ กับการบรรลุธรรม
0:40:42 อริยสัจ คือระบบปฏิบัติการอย่างไร
0:49:45 คำสอนเรื่องทุกข์ ที่ควรเข้าใจ

แก่นแท้ของพุทธศาสนา ๒
0:59:54 พระพุทธ & พระธรรม
1:10:41 ทุกข์ & อวิชชา ตัญหา อุปาทาน
1:20:16 ธรรมคุณ รู้ทันธรรมชาติ นิโรธ มรรค
1:24:23 สิกขา & ธรรมชาติมนุษย์
1:33:28 หลักพระรัตนตรัย
1:43:16 หลักไตรลักษณ์ สัจธรรม
1:46:18 นำกฏธรรมชาติมาใช้ในชีวิต
1:50:28 พัฒนาศักยภาพให้มีชีวิตแห่งปัญญา

แก่นธรรมเพื่อชีวิต
1:59:22 องค์ประกอบ๓ แห่งการดำเนินชีวิต
2:07:06 หลักไตรสิกขา ศีล จิต ปัญญา
2:16:31 ชีวิตที่ดี สิกขา&อริยมรรค
2:22:50 สัมพันธ์กับโลก อายตน&ปัญญา
2:31:49 ตัญหา&ฉันทะ ที่มาแห่งสุขสองแบบ
2:41:34 มโนกรรม ทำไมสำคัญที่สุด
2:49:16 การพัฒนามนุษย์ให้ได้ผล
2:54:19 วิธีวัดการปฏิบัติธรรมว่าตรงทาง
3:01:54 สันโดษ หลักที่ต้องเข้าใจให้ตรง

สรุปหลักพื้นฐาน๔ ของพุทธศาสนา
3:07:08 หลักการกระทำ (กรรม&เพียร)
3:10:13 หลักศึกษาพัฒนาตน (ไตรสิกขา)
3:11:53 หลักไม่ประมาท (อัปปมาทธรรม)
3:15:29 หลักพึ่งตนได้

3:20:55 สรุปแก่แท้ของพุทธศาสนา
3:26:27 คำโปรยท้ายบท
3:28:52 แนะนำก่อนจบ&อนุโมทนาเจ้าภาพ

ปฐมบทสู่ความเป็นพุทธแท้ : "แก่นแท้พุทธศาสนา" || หัวใจแห่งพุทธ&แก่นธรรมเพื่อชีวิต : ป. อ. ปยุตฺโต || #อริยคุณ ชมรมผลดี (อ่าน)

Title
ชมรมผลดี Official (โจโฉ เสียงธรรม)
Copyright
Release Date

flashback